การเร้าสมองด้วยสนามแม่เหล็กผ่านกะโหลกศีรษะ (TMS) ของ การปรับตัวของประสาท

การเร้าสมองด้วยสนามแม่เหล็กผ่านกะโหลกศีรษะ (Transcranial magnetic stimulation, TMS)

การเร้าสมองด้วยสนามแม่เหล็กผ่านกะโหลกศีรษะ (Transcranial magnetic stimulation, TMS) เป็นเทคนิคสำคัญในสาขาจิตวิทยาประสาทเชิงประชาน (cognitive neuropsychology) เพื่อตรวจสอบผลทางการรับรู้และพฤติกรรม เมื่อรบกวนการทำงานของระบบประสาทอย่างชั่วคราวงานวิจัยต่าง ๆ ได้แสดงว่า เมื่อเปลือกสมองส่วนการเห็นถูกกวนด้วย TMS ผู้ร่วมการทดลองจะเห็นไฟที่ปราศจากสีเป็นแว็บ ๆ หรือที่เรียกว่า phosphenes แม้จะไม่มีแสงที่เข้าไปในตา[22]และเมื่อให้ผู้ร่วมการทดลองเห็นสิ่งเร้าที่มีสีเดียวตลอดเวลา ก็จะเกิดการปรับตัวทางประสาทกับสีนั้นเมื่อได้ปรับตัวแล้ว ก็จะใช้ TMS เพื่อกวนการทำงานของเปลือกสมองส่วนการเห็นอีก แสงแว็บ ๆ ที่เห็นเนื่องจาก TMS ก็จะมีสีเดียวกับสิ่งเร้าสีเดียวที่แสดงก่อนการกวน

ใกล้เคียง

การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564 การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง การประกวดความงาม การปรับตัว (ชีววิทยา) การประเมินตัวเองหลัก (จิตวิทยา) การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ การปรับอากาศรถยนต์ การประมาณราคา การประกันภัย การปรับตัวของประสาท

แหล่งที่มา

WikiPedia: การปรับตัวของประสาท http://education-portal.com/academy/lesson/sensory... http://neuralcorrelate.com/martinez-conde_et_al_nr... http://www.cns.nyu.edu/~david/courses/perceptionGr... http://www.cns.nyu.edu/~nava/courses/psych_and_bra... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1180786 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2290590 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3501690 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4783497 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10845109 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11988174